วันศุกร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่1



วันศุกร์ ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ  2555
คุณครูให้นักศึกษาเขียนประโยคสองประโยคที่จะแสดงให้ครูรู้ว่า 
"คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคืออะไร"

และ

เป้าหมายที่เรียนการจัดประสบการณ์ ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


1.การจัดประสบการณ์มีอะไรบ้าง

1.1การจัดประสบการณ์

1.2คณิตศาสตร์

1.3เด็กปฐมวัย

   -วิธีการเรียนรู้

   -พัฒนาการ (ความอยาก  ความต้องการ  วุฒิภาวะ  ความพร้อม)

   -การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
    

ในแต่ละขั้นตอนเด็กสามารถทำอะไรได้เมื่อรู้ว่าเด็กสามารถทำอะไรได้จึงตอบสนองความอยาก  ความต้องการ  ให้พร้อมต่อวุฒิภาวะเหล่านั้น  เพราะถ้าไม่ตรงต่อวุฒิภาวะภาวะ  พัฒนาการก็จะทำให้เด็กอึดอัดไม่ชอบเพราะไม่ตรงต่อพัฒนาการของเขา


ทฤษฎีืที่ตรงต่อพัฒนาการ

เพียร์เจย์และบรูเนอร์

เพียร์เจย์

ขั้นที่1...Sensorimotor (แรกเกิด - 2 ขวบ)

เพียเจต์ เป็นนักจิตวิทยาคนแรกที่ได้ศึกษาระดับเชาวน์ปัญญาของเด็กวัยนี้ไว้อย่าง ละเอียดจากการสังเกตบุตร 3 คน
โดยทำบันทึกไว้และสรุปว่าวัยนี้เป็นวัยที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของอวัยวะ
ต่างๆของร่างกาย


ขั้นที่2...Preoperational (อายุ18 เดือน - 7 ปี)

เด็ก ก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาลมีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติปัญญา(Structure)
ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา
เด็ก วัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด อย่างไรก็ตาม ความคิดของของเด็กวัยนี้ยังมีข้อจำกัดหลายอย่างเด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัย อนุบาล มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติปัญญา(Structure) ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัวได้ หรือมีพัฒนาการทางด้านภาษาเด็กวัยนี้จะเริ่มด้วยการ
พูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำต่างๆเพิ่มขึ้นเด็กจะได้รู้จักคิด อย่างไรก็ตามความคิดของของเด็กวัยนี้ยังมีข้อจำกัดหลายอย่าง


ขั้นที่3...Concrete Operations (อายุ 7 - 11 ปี)

พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้แตกต่างกันกับเด็กในขั้น Preperational มาก
เด็กวัยนี้จะสามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งกฎเกณฑ์ในการ แบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้
คือ เด็กจะสามารถที่จะอ้างอิงด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่า นั้นเด็กวัยนี้สามารถแบ่งกลุ่ม
โดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง และคิดย้อนกลับ (Reversibility) ได้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและ
ความสัมพันธืของตัวเลขก็เพิ่มมากขึ้น



บรรจากาศอากาศในห้องเรียน

แอร์เย็นมาก นักศึกษาในห้องเรียนน้อย แต่เพื่อนสนใจเรียนและสามารถตอบคำถามคุณครูได้

สิ่งที่ได้รับในการเรียน

สามารถเข้าจคำว่าประโยค คือ มี ประธาน + กริยา + กรรม  มีขยาย กริยา หรือ กรรมอยู่ในประโยค
และการเชื่อมประโยคเช่นคำว่า  อาจรวมถึง....
และเข้าใจความหมายของคำว่าพัฒนาการ
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยและการจัดประสบการณ์มีอะไรบ้างและเหตุผลที่ต้องพัฒนาการของเด็กอย่างต่อเนื่องสำคัญอย่างไร

การนำไปประยุกต์ใช้เพื่อจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

เข้าใจพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กในแต่ละขั้นตอนไดด้ดีเพื่อสามารถจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ให้ตอบสนองความต้องการของเด็กได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมกับวัย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น