วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่ 4

ไม่มีการสอน  เนื่องจากคณะศึกษาศาสตร์จัดงานกีฬาสีศึกษาศาสตร์สัมพันธ์

วันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่3


วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2555



                   คุณครูให้นักศึกษาจับกลุ่มสามคนและวิเคราะห์เนื้อหางานที่ไปหาข้อมูลอ้างอิงจากห้องสมุด

สำนักวิทยบริการ โดยให้วิเคราะห์ของคนในกลุ่มทั้งสามคนมาสรุปเป็นของกลุ่มของเราเองและออกมา

เล่าให้เพื่อนๆในห้องฟัง

กลุ่มของข้าพเจ้าวิเคราะห์ออกมาได้ดังนี้

ความหมายของคณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำคัญยิ่งในชีวิตประจำวันของมนุษย์ในเรื่องของการใช้ตัวเลขปริมาณ  หรือสัญลักษณ์ต่างๆที่สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน  เพื่อพัฒนาคุณภาพและความคิดวิเคราะห์เรื่องราวต่างๆได้ดี  เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการพัฒนาคุณภาพมนุษญ์

อ้างอิง*  การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

             ผู้แต่ง  กองวิจัยทางการศึกษากรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ

             ปี   23  ส.ค  2001           หมู่ 372 72
                                                          ก 17 ก
                                                             ฉ1


จุดมุ่งหมายการสอนคณิตศาสตร์

  1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์
  2.เพื่อให้มีทักษะในการคำนวณ
  3.เพื่อให้เห็นประโยชน์ของคณิตศาสตร์
  4.เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาคณิตศาสตร์

หลักสูตรคณิตศาสตร์(ทฤษฎี)

  ระดับประถมศึกษามีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการคิดการคำนวณ  สามารถสามารถนำความรู้ที่เรียนคณิตศาสตร์ไปใช้ในการดำเนินชีวิตให้มีคุณภาพ

ขอบข่าย
   ทบทวนบทเรียน  จะเป็นการทำความเข้าใจในเรื่องพื้นฐานเกี่ยนวกับตรรกศาสตร์ และวิธีการพิสูจน์ซึ่งเราจะนำความรู้ในสองบทนี้ไปใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับวิชานี้ได้โดยที่ผู้เรียนและผู้สอนจะต้องให้ความสำคัญกับวิชาคณิตศาสตร์และทำความเข้าใจ

หลักสูตรคณิตศาสตร์

1.ทบทวนบทเเรียนความรู้เดิม
2.สอนเนื้อหาใหม่
3.สรุปเป็นวิธีลัดหรือ ความคิดรวบยอด
4.ฝึกทักษะทำแบบฝึกหัด
5.นำความรู้ไปใช้
6.ประเมิณผล

สามารถนำประสบการณ์ทางด้านความรู้ความคิดทักษะที่ได้จากการเรียนคณืตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตรประจำวัน

บรรยากาศภายในห้อง

เพื่อนๆตั้งใจฟังที่คุณครูพูดซึ่งตอนแรก คุณครูสั่งงานเพื่อนๆไม่ค่อยเข้าใจแต่คุณครูก้อธิบายใหม่จนเพื่อนเข้าใจหมดทุกคน  อากาศในห้องแอร์เย็นมาก

สิ่งที่ได้รับในการเรียน
เข้าใจการหาอ้างอิงในหนังสือมากยิ่งขึ้น

การนำไปใช้ในชีวิตรประจำวัน

สามารถนำไปหางานวิจัยรวมถึงการทำงานวิจัยได้

วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่ 2



วันศุกร์ที่  9  พฤศจิกายน พ.ศ 2555

คุณครูให้นักศึกษาเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษคำว่า

คณิตศาสตร์  =  Mathematics
  
ประสบการณ์  =  Experience

     เด็กปฐมวัย  =  Early childhood  

คุณครูทบทวนบทเรียนที่เรียนไปอาทิตย์ก่อนเรื่องพัฒนาการเพราะมีนักศึกษาเข้ามาเรียนเพิ่มและคุณครู

เริ่มบทเรียนใหม่โดยถามนักศึกษาว่า "ในห้องเรียนมีอะไรเป็นคณิตศาสตร์บ้าง"

เพื่อนๆในห้องตอบคุณครูว่า "มีพัดลม  พัดลมมีใบพัดสามใบ  แอร์มีรูปทรงเป็นสี่หลี่ยมผืนผ้า  แอร์หนาวสามารถบอกอุณหภูมิ  นาฬิกา  บอกตัวเลข เวลา  "

คุณครุสั่งงาน

1. ให้ไปห้องสมุดที่สำนักวิทยบริการ ของมหาวิทยาลัย ดดยไปสำรวจหนังสือคณิตศาสตร์และเขียนชื่อหนังสือ  ชื่อผู้แต่ง ปีพ.ศ และเลขหมู่หนังสือ อย่างน้อยหนึ่งเล่ม

2. หาความหมายของคำว่าคณิตศาสตร์และหาชื่อคนเขียน  ชื่อหนังสือ เลขหน้า จากบรรณานุกรม

3. หาจุดมุ่งหมาย  การสอน คณิตศาสตร์

4. การสอนการจัดประสบการณืคณิตสาสตร์ (ทฤษฎี)

5. ขอบข่าย เนื่้อหาของคณิตศาสตร์

6. หลักการสอนคณิตสาสตร์

บรรยากาศภายในห้องเรียน

อากาศภายในห้องเย็น แต่เพื่อนๆสนใจเรียนดีโดยเฉพาะแถวหน้า  มีเสียงคุยบ้างแต่ไม่เสียงดังจนเกินไป ไปเพราะถ้านักศึกษาเสียงดังมากคุรครูจะหยุดพูดเพื่อให้นักศึกษาเงียบก่อนจึงจะสอนต่อได้


สิ่งที่ได้รับในการเรียน

การใช้คำให้ถูกต้องถูกและเข้าใจความหมายเช่นคำว่า รับรู้และเรียนรู้   เช่นการเรียนรู้ต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจึงจะรู้ว่าเด็กเกิดการเรียนรู้

การนไปประยุกต์ใช้เพื่อจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้

สามารถนำเพลงมาเป็นสื่อการสอนคณิตศาสตร์ได้


วันศุกร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่1



วันศุกร์ ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ  2555
คุณครูให้นักศึกษาเขียนประโยคสองประโยคที่จะแสดงให้ครูรู้ว่า 
"คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคืออะไร"

และ

เป้าหมายที่เรียนการจัดประสบการณ์ ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


1.การจัดประสบการณ์มีอะไรบ้าง

1.1การจัดประสบการณ์

1.2คณิตศาสตร์

1.3เด็กปฐมวัย

   -วิธีการเรียนรู้

   -พัฒนาการ (ความอยาก  ความต้องการ  วุฒิภาวะ  ความพร้อม)

   -การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง
    

ในแต่ละขั้นตอนเด็กสามารถทำอะไรได้เมื่อรู้ว่าเด็กสามารถทำอะไรได้จึงตอบสนองความอยาก  ความต้องการ  ให้พร้อมต่อวุฒิภาวะเหล่านั้น  เพราะถ้าไม่ตรงต่อวุฒิภาวะภาวะ  พัฒนาการก็จะทำให้เด็กอึดอัดไม่ชอบเพราะไม่ตรงต่อพัฒนาการของเขา


ทฤษฎีืที่ตรงต่อพัฒนาการ

เพียร์เจย์และบรูเนอร์

เพียร์เจย์

ขั้นที่1...Sensorimotor (แรกเกิด - 2 ขวบ)

เพียเจต์ เป็นนักจิตวิทยาคนแรกที่ได้ศึกษาระดับเชาวน์ปัญญาของเด็กวัยนี้ไว้อย่าง ละเอียดจากการสังเกตบุตร 3 คน
โดยทำบันทึกไว้และสรุปว่าวัยนี้เป็นวัยที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวของอวัยวะ
ต่างๆของร่างกาย


ขั้นที่2...Preoperational (อายุ18 เดือน - 7 ปี)

เด็ก ก่อนเข้าโรงเรียนและวัยอนุบาลมีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติปัญญา(Structure)
ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว ได้ หรือ มีพัฒนาการทางด้านภาษา
เด็ก วัยนี้จะเริ่มด้วยการพูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำต่างๆเพิ่มขึ้น เด็กจะได้รู้จักคิด อย่างไรก็ตาม ความคิดของของเด็กวัยนี้ยังมีข้อจำกัดหลายอย่างเด็กก่อนเข้าโรงเรียนและวัย อนุบาล มีระดับเชาวน์ปัญญาอยู่ในขั้นนี้ เด็กวัยนี้มีโครงสร้างของสติปัญญา(Structure) ที่จะใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัวได้ หรือมีพัฒนาการทางด้านภาษาเด็กวัยนี้จะเริ่มด้วยการ
พูดเป็นประโยคและเรียนรู้คำต่างๆเพิ่มขึ้นเด็กจะได้รู้จักคิด อย่างไรก็ตามความคิดของของเด็กวัยนี้ยังมีข้อจำกัดหลายอย่าง


ขั้นที่3...Concrete Operations (อายุ 7 - 11 ปี)

พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้แตกต่างกันกับเด็กในขั้น Preperational มาก
เด็กวัยนี้จะสามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งกฎเกณฑ์ในการ แบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้
คือ เด็กจะสามารถที่จะอ้างอิงด้วยเหตุผลและไม่ขึ้นกับการรับรู้จากรูปร่างเท่า นั้นเด็กวัยนี้สามารถแบ่งกลุ่ม
โดยใช้เกณฑ์หลายๆอย่าง และคิดย้อนกลับ (Reversibility) ได้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมและ
ความสัมพันธืของตัวเลขก็เพิ่มมากขึ้น



บรรจากาศอากาศในห้องเรียน

แอร์เย็นมาก นักศึกษาในห้องเรียนน้อย แต่เพื่อนสนใจเรียนและสามารถตอบคำถามคุณครูได้

สิ่งที่ได้รับในการเรียน

สามารถเข้าจคำว่าประโยค คือ มี ประธาน + กริยา + กรรม  มีขยาย กริยา หรือ กรรมอยู่ในประโยค
และการเชื่อมประโยคเช่นคำว่า  อาจรวมถึง....
และเข้าใจความหมายของคำว่าพัฒนาการ
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยและการจัดประสบการณ์มีอะไรบ้างและเหตุผลที่ต้องพัฒนาการของเด็กอย่างต่อเนื่องสำคัญอย่างไร

การนำไปประยุกต์ใช้เพื่อจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

เข้าใจพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กในแต่ละขั้นตอนไดด้ดีเพื่อสามารถจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ให้ตอบสนองความต้องการของเด็กได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมกับวัย